เป็นเงินตราโบราณทำจากโลหะเงินเกือบบริสุทธิ์ โดยมูลค่าของเงินคิดตามน้ำหนัก นิยมใช้ในอาณาจักรล้านช้างโบราณและอาณาจักรเขมร ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่ปลายทั้งสองด้านโค้งงอออกเล็กน้อยเหมือนรูปเรือ "ฮาง" สำเนียงไทยออกเสียงว่า "ราง" ด้านบนมีร่องตรงกลาง มักมีตัวอักษรจีนตอกประทับไว้บอกรัชกาลที่ผลิต
อ้างอิง:
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร. ศัพทานุกรมโบราณคดี. กรุงเทพฯ: สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร, 2550.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรโบราณในภาคต่างๆ ของประเทศไทย. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558, จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=29&chap=6&page=t29-6-infodetail03.html
เงินราง หรือเงินฮาง
ที่มา: http://kanchanapisek.or.th/
อ้างอิง:
สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร. ศัพทานุกรมโบราณคดี. กรุงเทพฯ: สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร, 2550.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรโบราณในภาคต่างๆ ของประเทศไทย. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558, จาก http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=29&chap=6&page=t29-6-infodetail03.html